วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
การปลูกพริก
พริก เป็นพืชในตระกูล Solanaceae มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Capsicum frutescens L. ชื่อภาษาอังกฤษว่า Chilli peppers, chili, chile หรือ chilli มาจากคำภาษาสเปน ว่า chile โดยส่วนมากแล้ว ชื่อเหล่านี้มักหมายถึง พริกที่มีขนาดเล็ก ส่วนพริกขนาดใหญ่ที่มีรสอ่อนกว่าจะเรียกว่า Bell Pepper ในสหรัฐอเมริกา Pepper ในประเทศอังกฤษและไอร์แลนด์, capsicum ในประเทศอินเดียกับออสเตรเลีย และ Paprika ในประเทศทวีปยุโรปหลายประเทศ พริกชนิดต่างๆ มีต้นกำเนิดมาจากทวีปอเมริกา ซึ่งในปัจจุบันนี้ได้มีปลูกกันในหลายประเทศทั่วโลก เพราะพริกเป็นเคพริกมีหลายชนิด เช่น พริกขี้หนู พริกไทย พริกหยวก พริกเหลือง พริกชี้ฟ้า พริกหนุ่ม พริกกะเหรี่ยง ประเทศไทยนั้นมักนิยมปลูกพริกอยู่ 2 ชนิดซึ่งได้แก่
1.พริกหวาน พริกหยวก พริกชี้ฟ้า (ในกลุ่ม C. annuum)
2.พริกเผ็ดได้แก่ พริกขี้หนูสวน พริกขี้หนูใหญ่ (ในกลุ่ม C. furtescens)รื่องเทศที่สำคัญชื่อหนึ่ง และยังมีคุณสมบัติเป็นยาสมุนไพรด้วยเช่นกัน การเพาะปลูก
เริ่มจากการเตรียมดิน ระหว่างไถพรวน ดินให้รองพื้นด้วยปูนขาว อัตรา 75 ก.ก. ต่อไร่ และปุ๋ย ไบ.โอ.ฮิวมิค.พลัส. อัตรา 50 ก.ก. ต่อไร่ แล้วรดน้ำตาม หรือจะใช้ปุ๋ยดิน ทอง อัตรา 1 แกลลอน (5 ลิตร) ต่อ 1 ไร่ รองพื้น เพื่อปรับสภาพดินและป้องกันกำจัด เชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคพืชที่มีอยู่ในดิน บ่ม ดินทิ้งไว้ประมาณ 7-10 วัน จึงยกร่องกว้าง 1 เมตร สูง 20 ซม. แล้วจึงคลุมผ้ายาง ทำการ เจาะรูผ้ายางให้มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 ซม. ห่างกันประมาณ 50 ซม. เพื่อป้องกันกำจัด วัชพืชในแปลงพริก การเพาะกล้า ทำการแช่เมล็ดพริกโดย ใช้สารชีวภาพที่เร่งรากและใบ อัตรา 3-5 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อเร่งการงอกรากของเมล็ด เมล็ดพริกที่ใช้ปลูกให้แช่ทิ้งไว้ 1 คืน หลังจาก นั้นนำเมล็ดพริกขึ้นจากน้ำ แล้วห่อด้วยผ้า ขาวบางชุบน้ำอีก 1 คืน จึงหว่านเมล็ดลงบน แปลงเพาะ เมื่อต้นกล้าแตกใบแรกหรือ ประมาณ 7 วันหลังหว่าน จึงย้ายมาเพาะต่อ ในถาดหลุมอีกประมาณ 25-30 วัน จึงย้าย กล้ามาปลูกลงแปลงที่เตรียมไว้ การย้ายกล้าลงแปลงปลูก ก่อนนำต้นกล้าลงแปลงปลูก ให้ใช้ปุ๋ย ไบ.โอ.ฮิวมัส.พลัส หรือปุ๋ยชีวภาพรองก้นหลุม อัตรา 1 ช้อนแกง ต่อหลุม คลุกเคล้าให้เข้ากับดิน เพื่อป้องกัน โรครากเน่า โคนเน่าแล้วรดน้ำตามทันที หรืออาจใช้ปุ๋ยดินทอง (ปุ๋ยชีวภาพ) อัตรา 3 ช้อนแกงต่อน้ำ 20 ลิตรราดดินหรือคลุกเคล้ากับดิน เพื่อใช้ในการรองพื้นก่อนการปลูกพืช การบำรุงต้นและผล เพื่อกระตุ้นให้ต้น พริกเจริญเติบโตเร็ว ออกดอกสม่ำเสมอ ให้ผลดก ผลมีขนาดใหญ่ ไม่มีโรคแมลงมา รบกวน ให้ใช้ปุ๋ยทรีซิน อัตรา 50 ซีซี. + ทรี เท็คซีน อัตรา 30 กรัม (เพื่อป้องกันและกำจัด เชื้อรา) + ซิลเวอร์เอ๊กซ์ตร้า บี.96 อัตรา 30 ซีซี. (เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของต้นพริก) และในช่วงออกดอกให้ใช้ซิลเวอร์เอ็กซ์ตร้า สูตรเดตาดอกแทน + ทรีสตาร์ 5 ซีซี. + เซฟตี้ คิล 50 ซีซี. (เพื่อป้องกันและกำจัดแมลง) + สารจับใบ ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นต้นพริก ทุกๆ 7 วัน ถ้ามีโรคและแมลงมารบกวน ให้ ฉีดพ่นทุก 3-5 วัน และก่อนเก็บผลผลิต ประมาณ 1 สัปดาห์ให้ใช้วานาก้า 20 ซีซี. ฉีดรวมเข้าไปด้วย เพื่อทำให้พริกผลโต สี สวย ได้น้ำหนัก หรือเพื่อความสะดวกและ ประหยัดค่าใช้จ่าย อาจใช้ปุ๋ยชีวภาพปาณิ อัตรา 10 ซีซี.+ปุ๋ยปาณิแครป 10 ซีซี. + น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นเพื่อกระตุ้นให้ต้นพริกเจริญ เติบโตออกดอกสม่ำเสมอ ให้ผลดก ผลมี ขนาดใหญ่ ไม่มีโรคแมลงรบกวน โดยฉีดพ่น ต้นพริก 7-10 วันต่อครั้ง แต่ถ้ามีโรคแมลงมารบกวน อาจฉีดพ่นทุก 3-5 วันและก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต 1 สัปดาห์ การใช้ปุ๋ย หลังย้ายต้นกล้าแล้ว 5 วัน อาจมีการใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0 ร่วมกับ 15-15-15 อย่างละ 1 กก. ผสมน้ำ 20 ลิตร หยอดบริเวณโคนต้น เพื่อเร่งการเจริญเติบโต หลังจากนั้น 7 วัน หยอดปุ๋ยซ้ำอีกครั้ง โดยเพิ่ม ปริมาณปุ๋ยอีกอย่างละ 1 กก. จนต้นพริกมี อายุ 30 วัน ให้ทำการฝังปุ๋ยสูตร 15-15-15 ร่วมกับ 13-21-0 อัตรา 1 ช้อนแกงต่อหลุม โดยฝังให้ห่างโคนต้น 1 ฝ่ามือ เพื่อเร่งการ ออกดอก พอต้นพริกอายุได้ 45-50 วัน ให้ทำ การฝังปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 1 ช้อนแกงต่อ หลุม เพื่อบำรุงเมล็ดพริก แต่ถ้าสมาชิกจะ หลีกเลี่ยงปุ๋ยสูตรดังกล่าว และหันมาใช้ปุ๋ย ชีวภาพที่มีขายในท้องตลาดเช่น ปุ๋ยปาณิ + ปุ๋ยปาณิแครป อัตรา อย่างละ 10 ซีซี. ฉีดพ่น ทุก 7-10 วันจนต้นพริกเก็บเกี่ยวผลผลิต การให้น้ำ ช่วงย้ายกล้าให้น้ำทุก ๆ 3 วัน จนต้นพริกมาอายุได้ 15 วัน จึงเปลี่ยนเป็น การให้น้ำสัปดาห์ 1 ครั้ง ปัญหาเรื่องโรคและแมลงจะมีการทำลายน้อยมาก ถ้ามีการใช้ปุ๋ยชีวภาพอย่างสม่ำเสมอและถูกต้อง ส่วนมากปัญหาที่พบคือ ยอดหงิก ซึ่งมีสาเหตุมาจากเพลี้ยไฟ ก็อาจ จะมีการป้องกันด้วยการถอนทำลายต้นทิ้ง หรืออาจมีการใช้สารเคมีบ้างในยามที่จำเป็น
สรรพคุณ
พริกมีวิตามินซี สูง เป็นแหล่งของกรด ascorbic ซึ่งสารเหล่านี้ ช่วยขยายเส้นโลหิตในลำไส้และกระเพาะอาหารเพื่อให้ดูดซึมอาหารดีขึ้น ช่วยร่างกายขับถ่าย ของเสียและนำธาตุอาหารไปยังเนื้อเยื่อของร่างกาย (tissue) สำหรับพริกขี้หนูสดและพริกชี้ฟ้าของไทย มีปริมาณวิตามิน ซี 87.0 - 90 มิลลิกรัม / 100 g นอกจากนี้พริกยังมีสารเบต้า - แคโรทีนหรือวิตามินเอ สูง (พริกขี้หนูสด 140.77 RE )
พริกยังมีสารสำคัญอีก 2 ชนิด ได้แก่ Capsaicin และ Oleoresinโดยเฉพาะสาร Capsaicin ที่ นำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร และผลิตภัณฑ์รักษาโรค ในอเมริกามีผลิตภัณฑ์จำหน่ายในชื่อ Cayenne สำหรับฆ่าเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร สาร Capsaicin ยังมีคุณสมบัติทำให้เกิดรสเผ็ด ลดความเจ็บปวดของกล้ามเนื้อ หัวไหล่ แขน บั้นเอว และส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และมีผลิตภัณฑ์จำหน่ายทั้งชนิดเป็นโลชั่นและครีม ( Thaxtra - P Capsaicin) แต่การใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจมีผลกระทบต่ออาการหยุดชะงักการทำงานของกล้ามเนื้อได้เช่นกัน เพื่อความปลอดภัย USFDA ได้กำหนดให้ใช้สาร capsaicin ได้ ที่ความเข้มข้น 0.75 % สำหรับเป็นยารักษาโรค
การค้าและอุตสาหกรรม
สีของพริกมีหลากหลาย เขียว แดง เหลือง ส้ม ม่วง และสีงาช้าง โดยเฉพาะเมื่อนำมาปลูกในเขตร้อนชื้นที่ได้รับแสงแดดตลอดวัน จะมีสี ( colorant) ที่สดใส ซึ่งสามารถนำมาในอุตสาหกรรมอาหาร ทั้งการปรุงแต่งรสชาติ และสีสัน ( colouring spice ) ได้ตามความต้องการของผู้บริโภคหลากหลายผลิตภัณฑ์
มีแนวโน้มในอนาคตว่าการผสมสีในอาหารจะมาจากธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ และพริกเป็นพืชอายุสั้น ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้ง บริโภคสดและแปรรูป หลายหลายชนิด ดังนั้นพริกจึงจัดได้เป็นพืชผัก ที่มีศักยภาพชนิดหนึ่ง
พฤติกรรมการบริโภคและความต้องการอาหาร ในชีวิตประจำวันของผู้คน ในปัจจุบันให้ความสนใจ ในอาหารทีมีคุณค่าและประโยชน์ต่อร่างกาย สะอาด ปลอดภัยจากสิ่งตกค้างทั้งหลาย โดยเฉพาะสารเคมี กระแสความเรียกร้องสินค้าและพืชชนิดที่มีคุณภาพมีเพิ่มมากขึ้น ในตลาดที่สำคัญ โดยเฉพาะในต่างประเทศ ได้ให้ความสำคัญมาตรฐานสินค้า การรับรองสินค้า การรับรองสินค้า การตรวจสอบแหล่งสินค้าที่มาของสินค้า ดังนั้น ในระบบการผลิตสินค้าเพื่อบริโภคจะต้องมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์คุณภาพเริ่มตั้แต่แหล่งผลิตวัตถุดิบจนถึงมือ ผู้บริโภค ( From Farm to Table)
การผลิตพริกที่ดีจำเป็นจะต้องปรับระบบการผลิต ตั้งแต่การคัดเลือกที่เหมาะสมในท้องถิ่นต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น มีคุณภาพและคุณประโยชน์ ใช้วิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ลดการใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชและลดต้นทุน มีการจัดการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้ผลผลิตที่คุณภาพ ลดความเสียหาย และได้รูปลักษณ์ที่ดี ตรงตามมาตรฐานทั้งตลาดภายใน และต่างประเทศ ทั้งเพื่อการบริโภคสดและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์พริกชนิดต่าง ๆ เช่น พริกแห้ง พริกป่น พริกดอง ซ๊อสพริก น้ำพริก เครื่องแกง พริกน้ำจิ้มต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์ยารักษาโรค
1.พริกหวาน พริกหยวก พริกชี้ฟ้า (ในกลุ่ม C. annuum)
2.พริกเผ็ดได้แก่ พริกขี้หนูสวน พริกขี้หนูใหญ่ (ในกลุ่ม C. furtescens)รื่องเทศที่สำคัญชื่อหนึ่ง และยังมีคุณสมบัติเป็นยาสมุนไพรด้วยเช่นกัน การเพาะปลูก
เริ่มจากการเตรียมดิน ระหว่างไถพรวน ดินให้รองพื้นด้วยปูนขาว อัตรา 75 ก.ก. ต่อไร่ และปุ๋ย ไบ.โอ.ฮิวมิค.พลัส. อัตรา 50 ก.ก. ต่อไร่ แล้วรดน้ำตาม หรือจะใช้ปุ๋ยดิน ทอง อัตรา 1 แกลลอน (5 ลิตร) ต่อ 1 ไร่ รองพื้น เพื่อปรับสภาพดินและป้องกันกำจัด เชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคพืชที่มีอยู่ในดิน บ่ม ดินทิ้งไว้ประมาณ 7-10 วัน จึงยกร่องกว้าง 1 เมตร สูง 20 ซม. แล้วจึงคลุมผ้ายาง ทำการ เจาะรูผ้ายางให้มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 ซม. ห่างกันประมาณ 50 ซม. เพื่อป้องกันกำจัด วัชพืชในแปลงพริก การเพาะกล้า ทำการแช่เมล็ดพริกโดย ใช้สารชีวภาพที่เร่งรากและใบ อัตรา 3-5 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อเร่งการงอกรากของเมล็ด เมล็ดพริกที่ใช้ปลูกให้แช่ทิ้งไว้ 1 คืน หลังจาก นั้นนำเมล็ดพริกขึ้นจากน้ำ แล้วห่อด้วยผ้า ขาวบางชุบน้ำอีก 1 คืน จึงหว่านเมล็ดลงบน แปลงเพาะ เมื่อต้นกล้าแตกใบแรกหรือ ประมาณ 7 วันหลังหว่าน จึงย้ายมาเพาะต่อ ในถาดหลุมอีกประมาณ 25-30 วัน จึงย้าย กล้ามาปลูกลงแปลงที่เตรียมไว้ การย้ายกล้าลงแปลงปลูก ก่อนนำต้นกล้าลงแปลงปลูก ให้ใช้ปุ๋ย ไบ.โอ.ฮิวมัส.พลัส หรือปุ๋ยชีวภาพรองก้นหลุม อัตรา 1 ช้อนแกง ต่อหลุม คลุกเคล้าให้เข้ากับดิน เพื่อป้องกัน โรครากเน่า โคนเน่าแล้วรดน้ำตามทันที หรืออาจใช้ปุ๋ยดินทอง (ปุ๋ยชีวภาพ) อัตรา 3 ช้อนแกงต่อน้ำ 20 ลิตรราดดินหรือคลุกเคล้ากับดิน เพื่อใช้ในการรองพื้นก่อนการปลูกพืช การบำรุงต้นและผล เพื่อกระตุ้นให้ต้น พริกเจริญเติบโตเร็ว ออกดอกสม่ำเสมอ ให้ผลดก ผลมีขนาดใหญ่ ไม่มีโรคแมลงมา รบกวน ให้ใช้ปุ๋ยทรีซิน อัตรา 50 ซีซี. + ทรี เท็คซีน อัตรา 30 กรัม (เพื่อป้องกันและกำจัด เชื้อรา) + ซิลเวอร์เอ๊กซ์ตร้า บี.96 อัตรา 30 ซีซี. (เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของต้นพริก) และในช่วงออกดอกให้ใช้ซิลเวอร์เอ็กซ์ตร้า สูตรเดตาดอกแทน + ทรีสตาร์ 5 ซีซี. + เซฟตี้ คิล 50 ซีซี. (เพื่อป้องกันและกำจัดแมลง) + สารจับใบ ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นต้นพริก ทุกๆ 7 วัน ถ้ามีโรคและแมลงมารบกวน ให้ ฉีดพ่นทุก 3-5 วัน และก่อนเก็บผลผลิต ประมาณ 1 สัปดาห์ให้ใช้วานาก้า 20 ซีซี. ฉีดรวมเข้าไปด้วย เพื่อทำให้พริกผลโต สี สวย ได้น้ำหนัก หรือเพื่อความสะดวกและ ประหยัดค่าใช้จ่าย อาจใช้ปุ๋ยชีวภาพปาณิ อัตรา 10 ซีซี.+ปุ๋ยปาณิแครป 10 ซีซี. + น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นเพื่อกระตุ้นให้ต้นพริกเจริญ เติบโตออกดอกสม่ำเสมอ ให้ผลดก ผลมี ขนาดใหญ่ ไม่มีโรคแมลงรบกวน โดยฉีดพ่น ต้นพริก 7-10 วันต่อครั้ง แต่ถ้ามีโรคแมลงมารบกวน อาจฉีดพ่นทุก 3-5 วันและก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต 1 สัปดาห์ การใช้ปุ๋ย หลังย้ายต้นกล้าแล้ว 5 วัน อาจมีการใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0 ร่วมกับ 15-15-15 อย่างละ 1 กก. ผสมน้ำ 20 ลิตร หยอดบริเวณโคนต้น เพื่อเร่งการเจริญเติบโต หลังจากนั้น 7 วัน หยอดปุ๋ยซ้ำอีกครั้ง โดยเพิ่ม ปริมาณปุ๋ยอีกอย่างละ 1 กก. จนต้นพริกมี อายุ 30 วัน ให้ทำการฝังปุ๋ยสูตร 15-15-15 ร่วมกับ 13-21-0 อัตรา 1 ช้อนแกงต่อหลุม โดยฝังให้ห่างโคนต้น 1 ฝ่ามือ เพื่อเร่งการ ออกดอก พอต้นพริกอายุได้ 45-50 วัน ให้ทำ การฝังปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 1 ช้อนแกงต่อ หลุม เพื่อบำรุงเมล็ดพริก แต่ถ้าสมาชิกจะ หลีกเลี่ยงปุ๋ยสูตรดังกล่าว และหันมาใช้ปุ๋ย ชีวภาพที่มีขายในท้องตลาดเช่น ปุ๋ยปาณิ + ปุ๋ยปาณิแครป อัตรา อย่างละ 10 ซีซี. ฉีดพ่น ทุก 7-10 วันจนต้นพริกเก็บเกี่ยวผลผลิต การให้น้ำ ช่วงย้ายกล้าให้น้ำทุก ๆ 3 วัน จนต้นพริกมาอายุได้ 15 วัน จึงเปลี่ยนเป็น การให้น้ำสัปดาห์ 1 ครั้ง ปัญหาเรื่องโรคและแมลงจะมีการทำลายน้อยมาก ถ้ามีการใช้ปุ๋ยชีวภาพอย่างสม่ำเสมอและถูกต้อง ส่วนมากปัญหาที่พบคือ ยอดหงิก ซึ่งมีสาเหตุมาจากเพลี้ยไฟ ก็อาจ จะมีการป้องกันด้วยการถอนทำลายต้นทิ้ง หรืออาจมีการใช้สารเคมีบ้างในยามที่จำเป็น
สรรพคุณ
พริกมีวิตามินซี สูง เป็นแหล่งของกรด ascorbic ซึ่งสารเหล่านี้ ช่วยขยายเส้นโลหิตในลำไส้และกระเพาะอาหารเพื่อให้ดูดซึมอาหารดีขึ้น ช่วยร่างกายขับถ่าย ของเสียและนำธาตุอาหารไปยังเนื้อเยื่อของร่างกาย (tissue) สำหรับพริกขี้หนูสดและพริกชี้ฟ้าของไทย มีปริมาณวิตามิน ซี 87.0 - 90 มิลลิกรัม / 100 g นอกจากนี้พริกยังมีสารเบต้า - แคโรทีนหรือวิตามินเอ สูง (พริกขี้หนูสด 140.77 RE )
พริกยังมีสารสำคัญอีก 2 ชนิด ได้แก่ Capsaicin และ Oleoresinโดยเฉพาะสาร Capsaicin ที่ นำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร และผลิตภัณฑ์รักษาโรค ในอเมริกามีผลิตภัณฑ์จำหน่ายในชื่อ Cayenne สำหรับฆ่าเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร สาร Capsaicin ยังมีคุณสมบัติทำให้เกิดรสเผ็ด ลดความเจ็บปวดของกล้ามเนื้อ หัวไหล่ แขน บั้นเอว และส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และมีผลิตภัณฑ์จำหน่ายทั้งชนิดเป็นโลชั่นและครีม ( Thaxtra - P Capsaicin) แต่การใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจมีผลกระทบต่ออาการหยุดชะงักการทำงานของกล้ามเนื้อได้เช่นกัน เพื่อความปลอดภัย USFDA ได้กำหนดให้ใช้สาร capsaicin ได้ ที่ความเข้มข้น 0.75 % สำหรับเป็นยารักษาโรค
การค้าและอุตสาหกรรม
สีของพริกมีหลากหลาย เขียว แดง เหลือง ส้ม ม่วง และสีงาช้าง โดยเฉพาะเมื่อนำมาปลูกในเขตร้อนชื้นที่ได้รับแสงแดดตลอดวัน จะมีสี ( colorant) ที่สดใส ซึ่งสามารถนำมาในอุตสาหกรรมอาหาร ทั้งการปรุงแต่งรสชาติ และสีสัน ( colouring spice ) ได้ตามความต้องการของผู้บริโภคหลากหลายผลิตภัณฑ์
มีแนวโน้มในอนาคตว่าการผสมสีในอาหารจะมาจากธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ และพริกเป็นพืชอายุสั้น ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้ง บริโภคสดและแปรรูป หลายหลายชนิด ดังนั้นพริกจึงจัดได้เป็นพืชผัก ที่มีศักยภาพชนิดหนึ่ง
พฤติกรรมการบริโภคและความต้องการอาหาร ในชีวิตประจำวันของผู้คน ในปัจจุบันให้ความสนใจ ในอาหารทีมีคุณค่าและประโยชน์ต่อร่างกาย สะอาด ปลอดภัยจากสิ่งตกค้างทั้งหลาย โดยเฉพาะสารเคมี กระแสความเรียกร้องสินค้าและพืชชนิดที่มีคุณภาพมีเพิ่มมากขึ้น ในตลาดที่สำคัญ โดยเฉพาะในต่างประเทศ ได้ให้ความสำคัญมาตรฐานสินค้า การรับรองสินค้า การรับรองสินค้า การตรวจสอบแหล่งสินค้าที่มาของสินค้า ดังนั้น ในระบบการผลิตสินค้าเพื่อบริโภคจะต้องมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์คุณภาพเริ่มตั้แต่แหล่งผลิตวัตถุดิบจนถึงมือ ผู้บริโภค ( From Farm to Table)
การผลิตพริกที่ดีจำเป็นจะต้องปรับระบบการผลิต ตั้งแต่การคัดเลือกที่เหมาะสมในท้องถิ่นต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น มีคุณภาพและคุณประโยชน์ ใช้วิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ลดการใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชและลดต้นทุน มีการจัดการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้ผลผลิตที่คุณภาพ ลดความเสียหาย และได้รูปลักษณ์ที่ดี ตรงตามมาตรฐานทั้งตลาดภายใน และต่างประเทศ ทั้งเพื่อการบริโภคสดและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์พริกชนิดต่าง ๆ เช่น พริกแห้ง พริกป่น พริกดอง ซ๊อสพริก น้ำพริก เครื่องแกง พริกน้ำจิ้มต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์ยารักษาโรค
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)